บทความ

ที่หน้า login เราได้เห็นการสร้างฟอร์มโดยการเขียน HTML ไปแล้ว ซึ่งข้อเสียของการเขียนฟอร์มแบบ HTML คือ เราต้องจัดรูปแบบของฟอร์มด้วยตัวเอง เพื่อให้ใช้งานร่วมกับ GCSS แสดงผลฟอร์มที่ส่วยงามได้
ในบทนี้ เราจะมาเริ่มสร้างส่วนของแอดมินกัน โดยที่ผมจะสรุปโครงสร้างคร่าวๆของส่วนแอดมินไว้ดั้งนี้ ส่วนแอดมินจะต้องแยกออกจากหน้าเว็บหลักโดยจะถูกติดตั้งไว้ที่ไดเร็คทอรี่ admin การเข้าระบบแอดมินต้องมีการรักษาความปลอดภัย โดยผมจะใช้วิธีการตรวจสอบการ Login มาตรฐาน
ในเวิร์คช้อปแรก เราเรียนรู้การสร้างเว็บไซต์อย่างง่ายๆ กันไปแล้ว ในเวิร์คช้อปนี้ เราจะมาเรียนรู้ต่อจากของเดิม โดยการเพิ่มเติมความสามารถในการเขียนและแก้ไขให้กับเวิร์คช้อปในคราวที่แล้ว
ตอนนี้จะเป็นตอนสุดท้ายของเวิร์คช้อปนี้แล้วนะครับ ซึ่งจากที่ทำมามันก็เป็นเว็บไซต์ที่ครบถ้วนแล้ว ขั้นตอนสุดท้ายนี่ก็จะป็นการตกแต่งให้เว็บไซต์ของเราสวยงามขึ้น
ในตอนที่ 4 เราได้ทำการสร้างเมนูเป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่เมนูมันยังดูไม่เหมือนเมนูสักเท่าไร เพราะเรายังไม่ได้กำหนค่าให้มันแสดงผลเป็นเมนูเลย
ในบทนี้เราจะมาสร้างเมนูให้กับเว็บไซต์ของเรากัน ซึ่งคชสารสนับสนุนเมนูแบบ Responsive ด้วยแล้ว ทำให้การสร้างเมนูแบบ Responsive ไม่ยากอีกต่อไป
ตอนที่ 3 จะเป็นตัวอย่างการสร้างเว็บไซต์ที่มีหน้าเพจ โดยที่เราจะมีการสร้างหน้าเพจขึ้น 2 หน้า หน้าแรกคือ home และอีกหน้าคือ about
ตัวอย่างนี้จะเป็นการสร้างเว็บไซต์อย่างง่าย ๆ นะครับ เพื่อให้เห็นถึงวิธีการใช้งานเบื้องต้น ทั้งการเรียกใช้งานส่วนต่างๆของคชสาร ตลอดจนการใช้งาน template CSS และ Javascript
ความสามารถของคชสารไม่ได้มาเพราะโชคช่วย แต่เป็นเพราะการออกแบบที่คำนึงถึงข้อจำกัดต่างๆอย่างรัดกุมเพื่อให้คชสารเหมาะสำหรับใช้ทำ GCMS และยังเหมาะสำหรับใช้ในงานออกแบบทั่วๆไปด้วย
เห็นหลายๆคนยังสับสนกับความหมายของคำว่า Framework และ Library ว่าสองตัวนี้มันแตกต่างกันยังไง ผมสรุปสั้นๆ แบบนี้นะครับ
เห็นช่วงนี้มีข่าว เว็บไซต์จองตั๋วล่ม อันเนื่องมาจากคนเข้าใช้พร้อมๆกันเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะในกลุ่ม Developer ที่มีการพูดถึงเป็นจำนวนมาก
ในตอนที่แล้วผมได้อธิบายถึงการลดเวลาการเขียนโค้ดโดยการสร้างระบบพื้นฐานที่พร้อมสำหรับการใช้งานไปแล้ว ตอนนี้ผมจะมาพุดถึงอีกเทคนิคหนึ่งที่ผมใช้